วันอาทิตย์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร
 1. ทักษะการสังเกต (observation) หมายถึง การใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกัน ไดแก ตา หู จมูกลิ้น และผิวกาย
2. ทักษะการจําแนกประเภท (classifying) ความสามารถในการแบงประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑหรือสรางเกณฑในการแบงขึ้นสําหรับเด็กปฐมวัยในการแบงประเภทมีอยู 2 อยาง คือ ความ
เหมือนและความแตกตาง
3. การเปรียบเทียบ (comparing) สิ่งที่สําคัญในการเปรียบเทียบคือ เด็กจะตองมีความเขาใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้นและรูจักคําศัพทที่ตองใช เชน ยาวกวา สั้นกวา เตี้ยกวา สูงกวา ใหญ
กวา เบากวา เปนตน
4. การจัดลําดับ (ordering) เปนทักษะการเปรียบเทียบชั้นสูงเปนการเปดโอกาสใหเด็กไดพัฒนาความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการจัดลําดับสิ่งของ ตามลักษณะตางๆ เชน ขนาด ความยาว สี และผิว เปนตน
5. การวัด (Measurement) ความสามารถในการวัดของเด็ก จะพัฒนาจากประสบการณในการจัดหมวดหมู การเปรียบเทียบและการจัดลําดับในขณะที่เด็กเปรียบเทียบน้ําหนักของสิ่งของ หาวาสิ่งใดยาวที่สุด จะเปนเวลาที่เด็กใชมโนทัศนในการวัด การวัดจะชวยใหเด็กเขาใจเกี่ยวกับความยาว ระยะทาง ตําแหนง ทิศทาง รวมทั้งการคาดคะเน และการกะประมาณ การวัดสําหรับเด็กปฐมวัย ไดแก อุณหภูมิ เวลา ระยะทางความยาว น้ําหนัก ปริมาณ
6. การนับ (Counting) เด็กปฐมวัยชอบการนับแบบทองจําโดยไมเขาใจความหมาย เมื่ออายุ 7 หรือ 8 ขวบเด็กสามารถเขาใจอยางถองแท การนับแบบทองจําจะไมมีความหมาย นอกจากจะเชื่อมโยงจุดประสงคบางอยาง เชน นับจํานวนเด็กที่มาโรงเรียน เปนตน
7. รูปทรงและขนาด (Shape and Size) เด็กสวนใหญจะมีความรูเกี่ยวกับรูปทรงและขนาดกอนจะเขาโรงเรียน เราจะไดยินเด็กพูดถึงสิ่งตางๆ ที่เกี่ยวของกับรูปทรงและขนาดอยูเสมอเมื่ออายุประมาณ 5 ป เด็กจะรูจักรูปสี่เหลี่ยม วงกลม และสามเหลี่ยม



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น