ทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
การสอนเปนการจัดประสบการณ เพื่อใหเด็กไดเรียนรูอยางคุมคาและบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไว ซึ่งในการพัฒนาการเรียนการสอนคณิตศาสตร นักการศึกษาไดพยายามที่จะศึกษาทฤษฎีทางจิตวิทยาที่จะนํามาใชใหเกิดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากครูจะตองมีความเขาใจในตัวเด็กเขาใจระบบพัฒนาการดานสติปญญาของเด็กเพื่อนํามาใชใหเหมาะสมกับวัยและความสามารถของเด็ก การจัดกิจกรรมตางๆ จึงจะไดผล
1. ขั้นการรับรูทางประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว
ไดแก เด็กแรกเกิดถึงอายุประมาณถึง 2 ป เด็กวัยนี้เปน
พฤติกรรมเกี่ยวกับการเคลื่อนเปนสวนใหญ เชน การ
ไขวควา การมอง การจับ การดูด เปนการเคลื่อนไหวอยางอัตโนมัติ แม
แกปญหาได เชน เมื่อของเลนกลิ้งไปใตโตะ เด็กสามารถเอื้อมมือไปหยิบ
เด็กจะลองผิดลองถูกโดยไมสามารถอธิบายไดการพัฒนาทางดานความคิดไป
ลักษณะสําคัญ
- การเรียนรูของเด็กตองไดรับประสบการณตรงและโดยทันที
- ตอมาเริ่มรูจักจําไดในสิ่งที่มองเห็น
- ดาน ภาษา เริ่มพูดเปนคํา เริ่มใชทาทางชวย เชน นั่ง นอน ยืน ฉี่ ยิ้มหัวเราะ เปนตน
- ยังคิดและจินตนาการไมเปน
- ไมสามารถบอกเวลาได รูจักแตเดียวนี้ ขณะนี
ทฤษฎีพัฒนาการดานสติปญญาของเพียเจต(ตอ)
2. ขั้นกอนที่จะคิดหาเหตุผลเปน
เริ่มอายุ 2-6 ป เทียบกับชั้นอนุบาลแบงออกเปน 2 ระยะ
2.1 ขั้นกอนเขาใจความคิดรวบยอด อายุ 2-4 ป
ความคิดของเด็กวัยนี้ขึ้นอยูกับการรับรูเปนสวนใหญ ยังไม
สามารถที่จะใชเหตุผลและมีความคิดรวบยอดไดอยางลึกซึ้ง เชน ไมสามารถ
แยกประเภทรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมออกจากกันได
มีลักษณะเดนอยูที่ดานภาษา เปนวัยที่เรียนรูภาษาไดดี สามารถเรียนรูเรื่องสัญลักษณไดบาง
2.2 ขั้นสามารถเรียนรูดวยญาณ
อายุ 4-7 ป ญาณ คือการคิดนําไปสูการ
แกปญหา เปนการเดา หรือคาดคะเนในการ
แกปญหาเฉพาะหนาที่ไมมี การเตรียมตัวกอน
ลวงหนา เด็กในวัยนี้มีความสนใจอยากรูอยากเห็น
3.ขั้นการใชความคิดดวยรูปธรรม
เด็กอายุ 7- 11 ป เทียบไดกับชั้น ป. 1 – 6 เด็ก
วัยนี้เริ่มมีความคิดที่มีเหตุผล แตเปนความคิดที่ขึ้นอยูกับเหตุการณเฉพาะหนาและสิ่งที่เปนรูปธรรม วัยนี้เด็กสามารถมองเห็นลักษณะของวัตถุสิ่งของไดถึง 2 มิติใน
เวลาเดียวกัน คือ สามารถคิดถึงขนาดและปริมาณไปพรอมๆ กันได้
ลักษณะสําคัญ
- เด็กสามารถคิดหาเหตุผลจากวัตถุสิ่งของที่เปนรูปธรรม
- สามารถแบงประเภทสิ่งของได จัดเรียงลําดับได สรางเกณฑในการแบงไดโดยตองไดของจริงที่มีตัวตน
- สามารถมองทีละหลายมิติได คิดและเห็นคุณสมบัติของวัตถุสิ่งของ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น