วันอาทิตย์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ขอบขายฐานคณิต

หลักสูตรกอนประถมศึกษา พุทธศักราช 2540
• การจัดการศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัยอายุ 3-6 ป เปนการจัดในลักษณะการอบรมเลี้ยงดูและการให
การศึกษาแกเด็กทุกดาน ตามวัยและตามความสามารถของแตละบุคคล เพื่อเปนฐานในการ
ดํารงชีวิตและการอยูในสังคมไดอยางมีความสุข
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546
• สําหรับเด็กอายุ 3-5 ป เปนการจัดการศึกษาเด็กจะไดพัฒนาทั้งดานรางกาย อารมณ จิตใจ
สังคมและสติปญญา ตามวัยและความสามารถของแตละบุคคล
ขอบขายคณิตศาสตรในระดับปฐมวัย
• จากการศึกษาแนวการจัดประสบการณระดับกอนประถมศึกษา ชั้นเด็กเล็ก สํานักงานคณะกรรมการ
ประถมศึกษาแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ (2534,หนา 2,8) พบวา ในการจัดกิจกรรมและประสบการณ
ตางๆ ใหแกเด็ก มีจุดประสงคเพื่อสงเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ดาน

พัฒนาการดานคณิตศาสตร
1. สิ่งตางๆ รอบตัวเราสามารถแบงเปนประเภท ชนิด ตามขนาด สี รูปราง
2. สามารถนับสิ่งตางๆ วามีจํานวนเทาใด
3. เปรียบเทียบสิ่งของตางๆ ตามขนาด จํานวน น้ําหนัก
4. สามารถจัดเรียงลําดับสิ่งของตามขนาด ตําแหนง ลักษณะที่ตั้งไว
5. สามารถเพิ่มหรือลดสิ่งของออกจากจํานวนสิ่งของที่เรามีอยู
6. ใชตัวเลขในชีวิตประจําวัน เชน เงิน โทรศัพท บานเลขที่ ฯลฯ
7. สิ่งที่ชวยเราในการวัดมีหลายอยาง เชน ไมบรรทัด ถวยตวง ซอนตวง ฯลฯ
บางอยาง อาจใชการคาดคะเนหรือกะประมาณได
8. ใชเงินซื้อของ เชน อาหาร เสื้อผา ฯลฯ
9. ใช "เวลา" พูดถึงสิ่งตางๆ ที่เกิดขึ้น เชน เมื่อวานนี้ พรุงนี้ ตอนเชา ตอนบาย ตอนเย็น

ชั้นอนุบาลปที่ 1
1. การสังเกต จําแนก และเปรียบเทียบสิ่งตางๆ ตามสี รูปราง รูปทรง ขนาด
ปริมาณ น้ําหนัก ความยาว ความสูงได
2. จัดประสบการณและหมวดหมูสิ่งตางๆ ตามขนาด ความยาว ความสูง และ
จําแนกได
3. เรียงลําดับสิ่งตางๆ ตามขนาด ความยาว ความสูง ปริมาณ ระยะทางและ
การจัดลําดับเวลาและเหตูการณได
4. รูตําแหนงสิ่งตางๆ (ขางบน-ขางลาง) (ขางหนา-ขางหลัง)
5. ชั่ง ตวง วัด และคาดคะเนได
6. นับปากเปลา 1- 20 ได
7. รูคาจํานวน 1-5
ชั้นอนุบาลปที่ 2
1. การสังเกต จําแนก และเปรียบเทียบสิ่งตางๆ ตามสี รูปราง รูปทรง ขนาด ปริมาณ น้ําหนัก
ปริมาตร ความยาว ความสูง ระยะทางได
2. จัดประเภทและหมวดหมูสิ่งตางๆ ตามรูปราง รูปทรง ขนาด ความยาว ความสูง และจํานวนได
3. เรียงลําดับสิ่งตางๆ ตามขนาด ความยาว ความสูง ปริมาณ ระยะทาง ปริมาตรและการจัดลําดับ
เวลาและเหตุการณได
4. รูตําแหนงสิ่งตางๆ (ขางใน-ขางนอก) (ขางบน-ขางลาง) (ขางหนา-ขางหลัง-ระหวาง)
5. ชั่ง ตวง วัด และคาดคะเนได
6.นับปากเปลา 1-30
7. รูคาจํานวน 1-10
8. รูลําดับที่ 1-10
9. การเพิ่ม-ลด ภายในจํานวน 1-10
10. ความหมายของคําวา มี และ ไมมี
หลักการสอนคณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย
1. สอนใหสอดคลองกับชีวิตประจําวัน
2. เปดโอกาสไดเด็กไดรับประสบการณที่ทําใหเด็กพบคําตอบดวยตนเอง
3. มีเปาหมายและมีการวางแผนอยางดี
4. เอาใจใสในเรื่องการเรียนรูและลําดับขั้นของพัฒนาความคิดรวบยอดของ
เด็ก
5. ใชวิธีการจดบันทึกพฤติกรรมหรือระเบียนพฤติกรรม เพื่อใชในการ
วางแผนและจัดกิจกรรม
6. ใชประโยชนจากประสบการณเดิมของเด็ก เพื่อสอนประสบการณใหมใน
สถานการณใหม่
7. รูจักใชสถานการณขณะนั้นใหเปนประโยชน
8. ใชวิธีการสอนแทรกกับชีวิตจริงของเด็ก เพื่อสอนความคิดรอบยอดที่ยากๆ
9. ใชวิธีการใหเด็กมีสวนรวมหรือปฏิบัติจริงเกี่ยวกับตัวเลข
10. วางแผนสงเสริมใหเด็กเรียนรูทั้งที่โรงเรียนและที่บานอยางตอเนื่อง
11. บันทึกปญหาการเรียนรูของเด็กอยางสม่ําเสมอเพื่อแกไขปรับปรุง
12. คาบหนึ่งควรสอนความคิดรวบยอดเดียว
14. ครูควรสอนสัญลักษณหรือเครื่องหมายเมื่อเด็กเขาใจสิ่งเหลานั้นแลว
15. ตองมีการเตรียมความพรอมในการเรียนคณิตศาสตร์


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น