วันอาทิตย์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของเพียเจต มีสาระสําคัญ

ที่สอดคลองกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร ดังนี้
1. อายุเปนปจจัยสําคัญ โดยแบงออกเปนสี่ขั้น คือ
1.1 ขั้นรับรูจากประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว
1.2 ขั้นกอนที่จะคิดหาเหตุผลเปน หรือวัย ชางพูด
1.3 ขั้นใชความคิดดวยรูปธรรม หรือ ขั้นวัยชางทํา
1.4 ขั้นที่ใชความคิดดวยนามธรรม ขั้นวัยชางคิด
2.การกระทําเปนพื้นฐานใหเกิดความคิด
3. การสอนใหเกิดความเขาใจจะพบความสําเร็จประกอบดวย
3.1 เด็กจะตองมีวุฒิภาวะ
3.2 จัดกิจกรรมที่ไดลงมือกระทํา
3.3 จัดกิจกรรมกลุมสงเสริมทักษะดานภาษา
3.4 ใหเด็กไดรับความรูใหม
4.การสอนคณิตศาสตร ควรสอนตามลักษณะขั้นบันไดเวียน คือ
การสอนทบทวนเรื่องเดิม และคอยๆขยายไปสูความรูใหม่

ทฤษฎีพัฒนาการดานสติปญญาของ บรูเนอร
 บรูเนอร เสนอทฤษฎีพัฒนาการดานสติปญญา 3 ขั้น คือ
1. Enactive Stage เปนขั้นที่เด็กเรียนรูจากการ
 กระทํามากที่สุด เปรียบขั้นนี้ไดกับขั้นแรกของเพียเจต
คือ ขั้นการรับรูทางประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว
2. Lconic Stage เปนขั้นอาศัยประสาทสัมผัสตางๆ เชน การ
มองเห็นสิ่งใดก็เปนประสบการณสวนหนึ่ง แลวนําประสบการณทีได
จากการใชประสาทสัมผัสมาสรางเปนภาพขึ้นในใจแทน
3 Abstract Stage เปนขั้นการถายทอดการ
เรียนรูหรือประสบการณดวยการใชสัญลักษณหรือ
ภาษา ซึ่งเปนขั้นสูงสุดของพัฒนาการทางดาน
สติปญญาของมนุษย ซึ่งเด็กสามารถหาเหตุผลและเขาใจสิ่งที่เปนนามธรรม
ได สามารถแกปญหาไดเปนอยางดี บรูเนอรมีความเห็นวา ความรูความ
เขาใจในเรื่องสัญลักษณและภาษามีพัฒนาการขึ้นมาพรอมๆกัน

บรูเนอรไดนําทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญามาจัดลําดับ
ของการสอนคณิตศาสตร วาควรมี 3 ขั้น ดังนี้
11.Enactive ขั้นเริ่มตน การสอนโดยใชของ 3 มิติ
พวกวัตถุของจริง
2. Lconi ขั้นใชจินตนาการประกอบ คือ ของ 2 มิติ
เชน ภาพตางๆ กราฟ แผนที่ เปนตน เพื่อใชในการ
ประกอบการสอน
3. Astract Stage ขั้นใชจินตนาการลวนๆ คือ ใชสัญญาลักษณ ตัวเลข
เครื่องหมายตางๆ เปนขั้นสุดทายในการสอนคณิตศาสตร์

ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของบรูเนอร มีสาระสําคัญที่สอดคลองกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร ดังนี้

  •  ปรัชญาพื้นฐานในการเรียนวิชาคณิตศาสตร คือ การใหเด็กไดคนพบความรูไดดวยตนเอง นั่นคือ อยาปอนความรูให แตตองใหเด็กคนหาความรู รูจักการแกปญหาโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร เด็กสามารถเรียนรูจากเพื่อนรวมงานได
  • หนาที่ของครู คือหลีกเลี่ยงการสอนแบบบรรยายใหมากที่สุด
  • วางแผนการสอนดี ยอมกอใหเกิดการเรียนรูที่ดี
  •  การวัดผลสัมพันธกับการสอน
  • เด็กเรียนรูกับเพื่อนไดดี ควรทํางานเปนกลุม



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น