วันอาทิตย์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ทักษะพื้นฐานในการคิดคํานวณ
1. การจัดหมู การรวมหมู การแยกหมูเด็กรูจักจําแนกหรือแยกสิ่งของหรือรวมหมูสิ่งของที่
เหมือนกัน ของที่เปนพวกเดียวกัน ของใชดวยกัน หรืออาจจะใหเด็กเลือกของออกมาแลวใหเด็กบอกวาของนั้น “เหมือนกัน” “สีเดียวกัน” “ใชดวยกัน” ควรใหเด็กไดพิจารณาในการแยกหมู รวม
หมูหรือจัดหมู จากรูปราง จากจํานวน จากสี จากขนาด
1.1 การจัดหมู เด็กจะรวมกันจัดสิ่งของรวมกันเปนหมู จากการเรียกชื่อ
สิ่งของ เชน รองเทา ถุงเทาหรือหมวกเลือกสิ่งที่เหมือนกันวางรวมกัน
1.2 การรวมหมู ครูควรใหเด็กสังเกตของชื่อเปนกลุมใหญและเขาใจถึงจํานวนสิ่งของแตละจํานวน เชน ของกองใหญมี 5 ของกองเล็กมี 3 และอีกกองมี 2 กอง กอง 3 และกอง 2 รวมกันแลวจะเปนกองใหญมี 5 เทาของกองใหญ
1.3 การแยกหมู ดวยการใหเด็กเลนนับสิ่งของ เด็กจะเรียนรูถึงความสัมพันธระหวางเลขกับจํานวนสิ่งของ เด็กจะไดเรียนรูดวยตนเอง เชน 4 มากกวา3 อยู 1 , 4 มากกวา 2 อยู 2 และ 1 นอยกวา 4 อยู 3 เปนตน

กิจกรรมเสนอแนะ
1. การนับสิ่งของนับภาพเพื่อรูความหมายของจํานวน
2. รองเพลง ตบมือ เคาะจังหวะพรอมกับนับจํานวนที่เคาะ แสดง
ทาทางเพื่อประกอบความหมายของจํานวนตามเนื้อเพลงที่รอง
3. ฝกใหใชตัวเลขแทนจํานวนสิ่งของ
– ใหเห็นภาพที่มีตัวเลขกํากับอยู
– จับคูบัตรตัวเลขกับภาพหรือของจริง
– โยงภาพกับตัวเลข
– เลือกตัวเลขใหตรงกับภาพ

4. การเขียนตัวเลขตามจํานวนสิ่งของ
5. นําลูกคิดไปสวมหลักตามตัวเลข
6. เลนขายของ
7. หัดนับเพิ่ม นับลด หรือเอาออก โดยใชของจริงเศษวัสดุ เชน จุก
ขวด กระดุม ฯลฯ
8. ใชแผนปานสําลีแสดงเรื่องราวของโจทยและหาคําตอบ
9. การเขียนเลขเติมในชองวางตามลําดับฯลฯ



ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร
 1. ทักษะการสังเกต (observation) หมายถึง การใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกัน ไดแก ตา หู จมูกลิ้น และผิวกาย
2. ทักษะการจําแนกประเภท (classifying) ความสามารถในการแบงประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑหรือสรางเกณฑในการแบงขึ้นสําหรับเด็กปฐมวัยในการแบงประเภทมีอยู 2 อยาง คือ ความ
เหมือนและความแตกตาง
3. การเปรียบเทียบ (comparing) สิ่งที่สําคัญในการเปรียบเทียบคือ เด็กจะตองมีความเขาใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้นและรูจักคําศัพทที่ตองใช เชน ยาวกวา สั้นกวา เตี้ยกวา สูงกวา ใหญ
กวา เบากวา เปนตน
4. การจัดลําดับ (ordering) เปนทักษะการเปรียบเทียบชั้นสูงเปนการเปดโอกาสใหเด็กไดพัฒนาความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการจัดลําดับสิ่งของ ตามลักษณะตางๆ เชน ขนาด ความยาว สี และผิว เปนตน
5. การวัด (Measurement) ความสามารถในการวัดของเด็ก จะพัฒนาจากประสบการณในการจัดหมวดหมู การเปรียบเทียบและการจัดลําดับในขณะที่เด็กเปรียบเทียบน้ําหนักของสิ่งของ หาวาสิ่งใดยาวที่สุด จะเปนเวลาที่เด็กใชมโนทัศนในการวัด การวัดจะชวยใหเด็กเขาใจเกี่ยวกับความยาว ระยะทาง ตําแหนง ทิศทาง รวมทั้งการคาดคะเน และการกะประมาณ การวัดสําหรับเด็กปฐมวัย ไดแก อุณหภูมิ เวลา ระยะทางความยาว น้ําหนัก ปริมาณ
6. การนับ (Counting) เด็กปฐมวัยชอบการนับแบบทองจําโดยไมเขาใจความหมาย เมื่ออายุ 7 หรือ 8 ขวบเด็กสามารถเขาใจอยางถองแท การนับแบบทองจําจะไมมีความหมาย นอกจากจะเชื่อมโยงจุดประสงคบางอยาง เชน นับจํานวนเด็กที่มาโรงเรียน เปนตน
7. รูปทรงและขนาด (Shape and Size) เด็กสวนใหญจะมีความรูเกี่ยวกับรูปทรงและขนาดกอนจะเขาโรงเรียน เราจะไดยินเด็กพูดถึงสิ่งตางๆ ที่เกี่ยวของกับรูปทรงและขนาดอยูเสมอเมื่ออายุประมาณ 5 ป เด็กจะรูจักรูปสี่เหลี่ยม วงกลม และสามเหลี่ยม



ขอบขายฐานคณิต

หลักสูตรกอนประถมศึกษา พุทธศักราช 2540
• การจัดการศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัยอายุ 3-6 ป เปนการจัดในลักษณะการอบรมเลี้ยงดูและการให
การศึกษาแกเด็กทุกดาน ตามวัยและตามความสามารถของแตละบุคคล เพื่อเปนฐานในการ
ดํารงชีวิตและการอยูในสังคมไดอยางมีความสุข
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546
• สําหรับเด็กอายุ 3-5 ป เปนการจัดการศึกษาเด็กจะไดพัฒนาทั้งดานรางกาย อารมณ จิตใจ
สังคมและสติปญญา ตามวัยและความสามารถของแตละบุคคล
ขอบขายคณิตศาสตรในระดับปฐมวัย
• จากการศึกษาแนวการจัดประสบการณระดับกอนประถมศึกษา ชั้นเด็กเล็ก สํานักงานคณะกรรมการ
ประถมศึกษาแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ (2534,หนา 2,8) พบวา ในการจัดกิจกรรมและประสบการณ
ตางๆ ใหแกเด็ก มีจุดประสงคเพื่อสงเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ดาน

พัฒนาการดานคณิตศาสตร
1. สิ่งตางๆ รอบตัวเราสามารถแบงเปนประเภท ชนิด ตามขนาด สี รูปราง
2. สามารถนับสิ่งตางๆ วามีจํานวนเทาใด
3. เปรียบเทียบสิ่งของตางๆ ตามขนาด จํานวน น้ําหนัก
4. สามารถจัดเรียงลําดับสิ่งของตามขนาด ตําแหนง ลักษณะที่ตั้งไว
5. สามารถเพิ่มหรือลดสิ่งของออกจากจํานวนสิ่งของที่เรามีอยู
6. ใชตัวเลขในชีวิตประจําวัน เชน เงิน โทรศัพท บานเลขที่ ฯลฯ
7. สิ่งที่ชวยเราในการวัดมีหลายอยาง เชน ไมบรรทัด ถวยตวง ซอนตวง ฯลฯ
บางอยาง อาจใชการคาดคะเนหรือกะประมาณได
8. ใชเงินซื้อของ เชน อาหาร เสื้อผา ฯลฯ
9. ใช "เวลา" พูดถึงสิ่งตางๆ ที่เกิดขึ้น เชน เมื่อวานนี้ พรุงนี้ ตอนเชา ตอนบาย ตอนเย็น

ชั้นอนุบาลปที่ 1
1. การสังเกต จําแนก และเปรียบเทียบสิ่งตางๆ ตามสี รูปราง รูปทรง ขนาด
ปริมาณ น้ําหนัก ความยาว ความสูงได
2. จัดประสบการณและหมวดหมูสิ่งตางๆ ตามขนาด ความยาว ความสูง และ
จําแนกได
3. เรียงลําดับสิ่งตางๆ ตามขนาด ความยาว ความสูง ปริมาณ ระยะทางและ
การจัดลําดับเวลาและเหตูการณได
4. รูตําแหนงสิ่งตางๆ (ขางบน-ขางลาง) (ขางหนา-ขางหลัง)
5. ชั่ง ตวง วัด และคาดคะเนได
6. นับปากเปลา 1- 20 ได
7. รูคาจํานวน 1-5
ชั้นอนุบาลปที่ 2
1. การสังเกต จําแนก และเปรียบเทียบสิ่งตางๆ ตามสี รูปราง รูปทรง ขนาด ปริมาณ น้ําหนัก
ปริมาตร ความยาว ความสูง ระยะทางได
2. จัดประเภทและหมวดหมูสิ่งตางๆ ตามรูปราง รูปทรง ขนาด ความยาว ความสูง และจํานวนได
3. เรียงลําดับสิ่งตางๆ ตามขนาด ความยาว ความสูง ปริมาณ ระยะทาง ปริมาตรและการจัดลําดับ
เวลาและเหตุการณได
4. รูตําแหนงสิ่งตางๆ (ขางใน-ขางนอก) (ขางบน-ขางลาง) (ขางหนา-ขางหลัง-ระหวาง)
5. ชั่ง ตวง วัด และคาดคะเนได
6.นับปากเปลา 1-30
7. รูคาจํานวน 1-10
8. รูลําดับที่ 1-10
9. การเพิ่ม-ลด ภายในจํานวน 1-10
10. ความหมายของคําวา มี และ ไมมี
หลักการสอนคณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย
1. สอนใหสอดคลองกับชีวิตประจําวัน
2. เปดโอกาสไดเด็กไดรับประสบการณที่ทําใหเด็กพบคําตอบดวยตนเอง
3. มีเปาหมายและมีการวางแผนอยางดี
4. เอาใจใสในเรื่องการเรียนรูและลําดับขั้นของพัฒนาความคิดรวบยอดของ
เด็ก
5. ใชวิธีการจดบันทึกพฤติกรรมหรือระเบียนพฤติกรรม เพื่อใชในการ
วางแผนและจัดกิจกรรม
6. ใชประโยชนจากประสบการณเดิมของเด็ก เพื่อสอนประสบการณใหมใน
สถานการณใหม่
7. รูจักใชสถานการณขณะนั้นใหเปนประโยชน
8. ใชวิธีการสอนแทรกกับชีวิตจริงของเด็ก เพื่อสอนความคิดรอบยอดที่ยากๆ
9. ใชวิธีการใหเด็กมีสวนรวมหรือปฏิบัติจริงเกี่ยวกับตัวเลข
10. วางแผนสงเสริมใหเด็กเรียนรูทั้งที่โรงเรียนและที่บานอยางตอเนื่อง
11. บันทึกปญหาการเรียนรูของเด็กอยางสม่ําเสมอเพื่อแกไขปรับปรุง
12. คาบหนึ่งควรสอนความคิดรวบยอดเดียว
14. ครูควรสอนสัญลักษณหรือเครื่องหมายเมื่อเด็กเขาใจสิ่งเหลานั้นแลว
15. ตองมีการเตรียมความพรอมในการเรียนคณิตศาสตร์


แนวคิดของ ดีนส (ZP.Dienes)
Dienes เชื่อวาการสอนคณิตศาสตรควรมีขั้นตอน ดังนี้
1. play Stage คือขั้นตอนแรกใหนักเรียนมีอิสระที่จะทําอะไรก็ได
2. Structured Stage เปนขั้นที่ 2 ที่ครูเตรียมการสอนมาแลว
3. Practice Stage เปนขั้นสุดทายคือเด็กไดฝกฝน หรือฝกหัดความชํานาญ
ในกิจกรรมที่เรียนมา
ความเชื่อของดีนส ในเรื่องการใชวิธีการและสื่อการเรียน
1. การสอนเรื่องหนึ่งอาจจะทําไดหลายๆ วิธีการหลายๆ แบบ
2. สื่อการเรียนหลายๆอยางที่ใชก็เพื่อใชสรางแนวคิดหรือความเขาใจใน
เรื่องเดียวกัน
3. สื่อการเรียนแตละอยางที่ใช ควรใชตามลําดับ
4. สื่อการเรียนแตละอยาง ควรเปนสื่อประเภทตั้งแตของ 3 มิติไปสู 2 มิติ
และมิติเดียวตามลําดับ

แนวคิดของนักจิตวิทยาการเรียนรูกลุมทฤษฎีพฤติกรรมนิยม

  • ธอรนไดร การเรียนรูบางสิ่งบางอยางอาจเกิดขึ้นไดจากการลองผิดลองถูกและเมื่อพบทางที่ถูกตองแลว เด็กจะนําเอาวิธีนั้นไปใชในการแกปญหาประเภทเดียวกันอีกครั้งหนึ่งได
  • พัฟลอฟและสกินเนอร การเรียนการสอนจะตองมีอุปกรณครั้งการใชวิธีหลายๆวิธีในการสอนเพราะเด็กแตละคนจะเขาใจสิ่งตางๆดวยวิธีที่ตางกันจะตองมีการชมเชยและใหกําลังใจ หากพฤติกรรมไมดีควรตําหนิ บรรยากาศในการเรียนตองดี

กฎที่สงเสริมการเรียนรูคณิตศาสตร
1. กฎแหงความพรอม คือ เมื่อผูเรียนมีความพรอมที่จะเรียน
2.กฎแหงการฝกฝน คือ ถาผูเรียนไดปฏิบัติฝกหัดและฝกซอมบอย ๆ
3.กฎของผลตอบสนอง คือ เมื่อผูเรียนไดรับผลตอบสนองอยางพึงพอใจ
การเสริมพลังในการเรียนการสอนคณิตศาสตร
เสริมพลัง คือ การกระทําอยางใดอยางหนึ่ง เพื่อใหเด็กแสดงพฤติกรรมที่พึง
ปารถนาออกมา โดยมีวิธีการเสริมพลัง ดังนี้
  • ใชวาจาใหกําลังใจแสดงการยอมรับความคิดเห็น ยกยกชมเชยเมื่อเด็กทําถูก
  • ทาทาง แสดงทาทางการยอมรับ เชน พยักหนา ยิ้ม เอียงหูฟง ตามความเหมาะสม
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของเพียเจต มีสาระสําคัญ

ที่สอดคลองกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร ดังนี้
1. อายุเปนปจจัยสําคัญ โดยแบงออกเปนสี่ขั้น คือ
1.1 ขั้นรับรูจากประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว
1.2 ขั้นกอนที่จะคิดหาเหตุผลเปน หรือวัย ชางพูด
1.3 ขั้นใชความคิดดวยรูปธรรม หรือ ขั้นวัยชางทํา
1.4 ขั้นที่ใชความคิดดวยนามธรรม ขั้นวัยชางคิด
2.การกระทําเปนพื้นฐานใหเกิดความคิด
3. การสอนใหเกิดความเขาใจจะพบความสําเร็จประกอบดวย
3.1 เด็กจะตองมีวุฒิภาวะ
3.2 จัดกิจกรรมที่ไดลงมือกระทํา
3.3 จัดกิจกรรมกลุมสงเสริมทักษะดานภาษา
3.4 ใหเด็กไดรับความรูใหม
4.การสอนคณิตศาสตร ควรสอนตามลักษณะขั้นบันไดเวียน คือ
การสอนทบทวนเรื่องเดิม และคอยๆขยายไปสูความรูใหม่

ทฤษฎีพัฒนาการดานสติปญญาของ บรูเนอร
 บรูเนอร เสนอทฤษฎีพัฒนาการดานสติปญญา 3 ขั้น คือ
1. Enactive Stage เปนขั้นที่เด็กเรียนรูจากการ
 กระทํามากที่สุด เปรียบขั้นนี้ไดกับขั้นแรกของเพียเจต
คือ ขั้นการรับรูทางประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว
2. Lconic Stage เปนขั้นอาศัยประสาทสัมผัสตางๆ เชน การ
มองเห็นสิ่งใดก็เปนประสบการณสวนหนึ่ง แลวนําประสบการณทีได
จากการใชประสาทสัมผัสมาสรางเปนภาพขึ้นในใจแทน
3 Abstract Stage เปนขั้นการถายทอดการ
เรียนรูหรือประสบการณดวยการใชสัญลักษณหรือ
ภาษา ซึ่งเปนขั้นสูงสุดของพัฒนาการทางดาน
สติปญญาของมนุษย ซึ่งเด็กสามารถหาเหตุผลและเขาใจสิ่งที่เปนนามธรรม
ได สามารถแกปญหาไดเปนอยางดี บรูเนอรมีความเห็นวา ความรูความ
เขาใจในเรื่องสัญลักษณและภาษามีพัฒนาการขึ้นมาพรอมๆกัน

บรูเนอรไดนําทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญามาจัดลําดับ
ของการสอนคณิตศาสตร วาควรมี 3 ขั้น ดังนี้
11.Enactive ขั้นเริ่มตน การสอนโดยใชของ 3 มิติ
พวกวัตถุของจริง
2. Lconi ขั้นใชจินตนาการประกอบ คือ ของ 2 มิติ
เชน ภาพตางๆ กราฟ แผนที่ เปนตน เพื่อใชในการ
ประกอบการสอน
3. Astract Stage ขั้นใชจินตนาการลวนๆ คือ ใชสัญญาลักษณ ตัวเลข
เครื่องหมายตางๆ เปนขั้นสุดทายในการสอนคณิตศาสตร์

ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของบรูเนอร มีสาระสําคัญที่สอดคลองกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร ดังนี้

  •  ปรัชญาพื้นฐานในการเรียนวิชาคณิตศาสตร คือ การใหเด็กไดคนพบความรูไดดวยตนเอง นั่นคือ อยาปอนความรูให แตตองใหเด็กคนหาความรู รูจักการแกปญหาโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร เด็กสามารถเรียนรูจากเพื่อนรวมงานได
  • หนาที่ของครู คือหลีกเลี่ยงการสอนแบบบรรยายใหมากที่สุด
  • วางแผนการสอนดี ยอมกอใหเกิดการเรียนรูที่ดี
  •  การวัดผลสัมพันธกับการสอน
  • เด็กเรียนรูกับเพื่อนไดดี ควรทํางานเปนกลุม



ทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
การสอนเปนการจัดประสบการณ เพื่อใหเด็กไดเรียนรูอยางคุมคาและบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไว ซึ่งในการพัฒนาการเรียนการสอนคณิตศาสตร นักการศึกษาไดพยายามที่จะศึกษาทฤษฎีทางจิตวิทยาที่จะนํามาใชใหเกิดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากครูจะตองมีความเขาใจในตัวเด็กเขาใจระบบพัฒนาการดานสติปญญาของเด็กเพื่อนํามาใชใหเหมาะสมกับวัยและความสามารถของเด็ก การจัดกิจกรรมตางๆ จึงจะไดผล

ทฤษฎีพัฒนาการดานสติปญญาของเพียเจต
1. ขั้นการรับรูทางประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว
ไดแก เด็กแรกเกิดถึงอายุประมาณถึง 2 ป เด็กวัยนี้เปน
พฤติกรรมเกี่ยวกับการเคลื่อนเปนสวนใหญ เชน การ
ไขวควา การมอง การจับ การดูด เปนการเคลื่อนไหวอยางอัตโนมัติ แม
แกปญหาได เชน เมื่อของเลนกลิ้งไปใตโตะ เด็กสามารถเอื้อมมือไปหยิบ
เด็กจะลองผิดลองถูกโดยไมสามารถอธิบายไดการพัฒนาทางดานความคิดไป

ลักษณะสําคัญ

  •  การเรียนรูของเด็กตองไดรับประสบการณตรงและโดยทันที
  • ตอมาเริ่มรูจักจําไดในสิ่งที่มองเห็น
  • ดาน ภาษา เริ่มพูดเปนคํา เริ่มใชทาทางชวย เชน นั่ง นอน ยืน ฉี่ ยิ้มหัวเราะ เปนตน
  •  ยังคิดและจินตนาการไมเปน
  •  ไมสามารถบอกเวลาได รูจักแตเดียวนี้ ขณะนี

ทฤษฎีพัฒนาการดานสติปญญาของเพียเจต(ตอ)
2. ขั้นกอนที่จะคิดหาเหตุผลเปน
เริ่มอายุ 2-6 ป เทียบกับชั้นอนุบาลแบงออกเปน 2 ระยะ
2.1 ขั้นกอนเขาใจความคิดรวบยอด อายุ 2-4 ป
ความคิดของเด็กวัยนี้ขึ้นอยูกับการรับรูเปนสวนใหญ ยังไม
สามารถที่จะใชเหตุผลและมีความคิดรวบยอดไดอยางลึกซึ้ง เชน ไมสามารถ
แยกประเภทรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมออกจากกันได
มีลักษณะเดนอยูที่ดานภาษา เปนวัยที่เรียนรูภาษาไดดี สามารถเรียนรูเรื่องสัญลักษณไดบาง
2.2 ขั้นสามารถเรียนรูดวยญาณ
อายุ 4-7 ป ญาณ คือการคิดนําไปสูการ
 แกปญหา เปนการเดา หรือคาดคะเนในการ
 แกปญหาเฉพาะหนาที่ไมมี การเตรียมตัวกอน
 ลวงหนา เด็กในวัยนี้มีความสนใจอยากรูอยากเห็น
3.ขั้นการใชความคิดดวยรูปธรรม
เด็กอายุ 7- 11 ป เทียบไดกับชั้น ป. 1 – 6 เด็ก
วัยนี้เริ่มมีความคิดที่มีเหตุผล แตเปนความคิดที่ขึ้นอยูกับเหตุการณเฉพาะหนาและสิ่งที่เปนรูปธรรม วัยนี้เด็กสามารถมองเห็นลักษณะของวัตถุสิ่งของไดถึง 2 มิติใน
เวลาเดียวกัน คือ สามารถคิดถึงขนาดและปริมาณไปพรอมๆ กันได้

ลักษณะสําคัญ 
  • เด็กสามารถคิดหาเหตุผลจากวัตถุสิ่งของที่เปนรูปธรรม
  •  สามารถแบงประเภทสิ่งของได จัดเรียงลําดับได สรางเกณฑในการแบงไดโดยตองไดของจริงที่มีตัวตน
  • สามารถมองทีละหลายมิติได คิดและเห็นคุณสมบัติของวัตถุสิ่งของ
4. ขั้นใชความคิดดวยนามธรรม อายุ 12-14 ป
เทียบกับระดับมัธยม พัฒนาการระดับสติปญญาสูงสุดเด็กวัยนี้เริ่มคิดแบบผูใหญ
ลักษณะสําคัญ
  •  คิดหาเหตุผลตามหลักตรรกวิทยาได
  •  สามารถสรางสมมติฐานได คิดแผนการทดลองได วางแผนการได
  •  สามารถแกโจทยปญหาได

สื่อการสอนคณิตศาสตร์





ความคิดรวบยอดพื้นฐานทางคณิตศาสตร

 เด็กปฐมวัยจะเปนวัยชางพูด คําพูดอาจมีคําศัพทที่เกี่ยวกับ
 ความคิดรวบยอดทางดานตัวเลข เชน การเปรียบเทียบใน
 เรื่องของขนาด รูปราง ผิว อุณหภูมิ และคาของเงิน แต
จะเปนการเปรียบเทียบแบบงายๆ เพราะเด็กจะใชคําศัพทจากสิ่งแวดลอมที่
ตนเองไดรับจากทางบานนอกจากนั้นการวางแผนที่ดีของครูที่โรงเรียนเปนสิ่ง
ที่สําคัญและทาทายอยางยิ่งในการสรางพนฐานการพัฒนาการทางดานคําศัพท
ที่เกี่ยวกับการเปรียบเทียบ ดังนั้นจะกลาวถึงรายการคําศัพททางดาน
คณิตศาสตรไว เพื่อใหครูปฐมวัยไดไดเลือกใชในการจัดกิจกรรมใหเหมาะสม
หรือจัดหาอุปกรณที่เสริมสรางความเขาใจเกี่ยวกับคําศัพทเหลานี้




คําศัพทเกี่ยวกับคณิตศาสตร
ตัวเลข เชน ทั้หมด จํานวน นอย มาก นอยกวา มากกวา กิโล ไมมี เปนตน
ขนาด เชน ใหญ คลาย สองเทา ใหญที่สุด สูง เตี้ย เปนตน
รูปราง เชน สามเหลี่ยม วงกลม สี่เหลี่ยม ยาว โคง สั้นกวา แถว เปนตน
ที่ตั้ง เชน บน ต่ํา ขวา สูงที่สุด ยอด กอน ระยะทาง ระหวาง เปน
ตน
คาของเงิน เชน สลึง หาสิบสตางค หนึ่งบาท หาบาท สิบบาท ยี่สิบบาท เปนตน
ความเร็ว เชน เร็ว ชา เดิน วิ่ง คลาน เปนตน
อุณหภูมิ เย็น รอน อุน เดือด ชุมชื้น

ความหมายของคณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย
ลีพเพอรและคณะ
คณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัยเปนที่ตองอาศัยสถานการณ
ในชีวิตประจําวันของเด็กเปนพื้นฐานในการพัฒนาความรู
และทักษะทางคณิตศาสตร อีกทั้งยังตองอาศัยกิจกรรมคณิตศาสตรสําหรับ
เด็กโดยเฉพาะ โดยอาศัยการวางแผนและการเตรียมการอยางดีจากครูเพื่อ
เปดโอกาสใหเด็กไดลงมือปฏิบัติจริง และเรียนรูดวยตนเองอยางมีความสุข

เทยเลอร
 คณิตศาสตรเปนสวนหนึ่งของชีวิตประจําวันที่สําคัญ
 ครูปฐมวัยควรเปดโอกาสใหเด็กไดใชความคิด
 การคนควาแกปญหา และการเรียนรูดวยตนเอง
 โดยจัดประสบการณใหเหมาะสมกับวัย ซึ่งการเรียนรูทางดานคณิตศาสตร
และความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตรจะขึ้นอยูกับระดับ
พัฒนาการของเด็กเปนสําคัญ

นิตยา ประพฤกิจ (2535.หนา 5) คณิตศาสตรสําหรับ
 เด็กปฐมวัยเปนเรื่องที่นอกจากจะตองอาศัย
สถานการณในชีวิตประจําวันของเด็กในการ
 สงเสริมความเขาใจเกี่ยวกับคณิตศาสตรแลวยังอาศัยการจัด
กิจกรรมที่มีการวางแผน และเตรียมการอยางดีจากครู เพื่อใหโอกาสแกเด็ก
ไดคนควา แกปญหา ไดเรียนรูและพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร มี
ทักษะความรู ที่เปนพื้นฐานสําหรับการศึกษา และใชในชีวิตประจําวัน

ความสําคัญของคณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย
 คณิตศาสตรมีความเกี่ยวของและสัมพันธกับชีวิตประจําวัน
 ของเด็กเปนอยางมาก เชน การดูนาฬิกา การดูวันจาก
 ปฏิทิน การไปตลาดเพื่อซื้อของ การนับเงินการทอนเงิน
ตลอดจนการสังเกต จําแนก เปรียบเทียบสิ่งตางๆ สิ่งเหลานี้ลวนเกี่ยวกับ
คณิตศาสตรทั้งสิ้น ควรปลูกฝงคณิตศาสตรใหกับเด็กตั้งแตแรกเริ่ม
ความสําคัญของคณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย(ตอ)
วรรณี โสมประยูร
เด็กเรียนคณิตศาสตรเกงจะประสบความสําเร็จ
ในการดํารงชีวิตหลายประการ ดังนี้

  •  ทําใหเปนคนคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน โดยเฉพาะอาศัยหลักการทางคณิตศาสตรเปนแนวทางพื้นฐานที่สําคัญ
  • นําไปใชแกปญหาตาง ๆ ในการดํารงชีวิตไดดี และมีประสิทธิภาพ
  • เปนเครื่องมือที่สําคัญในการสํารวจขอมูล วางแผนงานและประเมินผลการดําเนินงาน
  • เรียนวิชาตางๆ ไดดี เพราะคณิตศาสตรเปนเครื่องมือในการเรียนรูของวิชาตางๆโดยเฉพาะวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี





จุดมุงหมายของการสอนคณิตศาสตร
1. เพื่อใหเด็กมีความเขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร เชน การรูจักคําศัพท
2. เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร เชน การบวก ลบ
3.เพื่อใหเด็กรูจักและใชกระบวนการหาคําตอบ
4. เพื่อใหเด็กฝกฝนคณิตศาสตรพื้นฐาน
5.เพื่อใหเด็กมีความรูความเขาใจ

6. เพื่อสงเสริมใหเด็กคนควาหาคําตอบดวยตนเอง


การจัดการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กควรเน้นการให้เด็กได้มีโอกาสจัดกระทำ กับวัตถุประสงค์ต่าง ๆ เพราะเด็กในวัยนี้เรียนรู้โดยอาศัยประสาทสัมผัสรับรู้และการเคลื่อนไหว เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา การจัดการเรียนรู้เน้นให้เด็กได้พัฒนาประสาทสัมผัสให้มากที่สุด และกระตุ้นให้เด็กได้คิดและมีโอกาสจัดกระทำ หรือลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งเปิดโอกาสให้เด็กได้สัมผัสแตะต้อง ได้เห็นสิ่งต่าง ๆ หรือเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ โดยผ่านประสาทสัมผัสแตะต้อง ได้เห็นสิ่งใหม่ ๆ ซึ่งวิธีการดังกล่าวจะช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ รอบตัว
คณิตศาสตร์สำหรับเด็ก
การจัดการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยหมายถึง การจัดสภาพการณ์ในชีวิตประจำวันของเด็กเป็นฐานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ซึ่งครูต้องวางแผนการจัดการเรียนรู้เป็นอย่างดี ประกอบด้วยกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กค้นคว้า แก้ปัญหา พัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และความคิดรวบยอด ที่เหมาะสมกับระดับพัฒนาการ เด็กแต่ละวัยจะมีความสามารถเฉพาะ เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง บรรยากาศการเรียนต้องไม่เคร่งเครียดเด็กรู้สึกสบายๆในขณะเรียน เห็นความสัมพันธ์ของคณิตศาสตร์ในธรรมชาติ บ้าน โรงเรียน กิจกรรมสอดคล้องกับชีวิตประจำวันและเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมจะช่วยพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และความคิดรวบยอดได้ดีขึ้น

    ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วยความสามารถต่างๆดังนี้

  1. การจำแนกประเภท
  2. การจัดหมวดหมู่
  3. การเรียงลำดับ
  4. การเปรียบเทียบ
  5. รูปร่างรูปทรง
  6. พื้นที่
  7. การชั่งตวงวัด
  8. การนับ
  9. การรู้จักตัวเลข
  10. รู้จักความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนกับตัวเลข
  11. เวลา
  12. การเพิ่มและลดจำนวน
จำนวนและตัวเลข เด็กปฐมวัยหากได้เรียนรู้จากการปฏิบัติโดยการใช้สื่อของจริงจะส่งผลให้มีทักษะการรับรู้เชิงจำนวนเนื่องจากธรรมชาติได้สร้างให้สมองของเด็กมีบริเวณที่เกี่ยวข้อง กับการรับรู้เชิงจำนวน ส่วนของสมองอย่างน้อย 3 บริเวณที่เกี่ยวข้องกับทักษะการรับรู้เชิงจำนวน สองส่วนแรกอยู่ที่สมองทั้งซีกซ้ายและขวาเกี่ยวข้องกับสัญลักษณ์ตัวเลข และบริเวณที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเปรียบเทียบจำนวน และบริเวณสุดท้ายอยู่ที่สมองซีกซ้ายคือ ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการนับปากเปล่าและความจำเกี่ยวกับจำนวน การคำนวณ โดยสมองทั้ง 3 ส่วนจะทำงานร่วมกัน พัฒนาการด้านการรับรู้เชิงจำนวนและคณิตศาสตร์เริ่มตั้งแต่ปฐมวัยและพัฒนาเรื่อยไปจนถึงวัยผู้ใหญ่